@mastersthesis {152, title = {การศึกษาศักยภาพของโรงเรียนประถมศึกษาในการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่น สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดพิษณุโลก}, volume = { ครุศาสตรมหาบัณฑิต}, year = {2547}, school = {มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม}, type = {วิทยานิพนธ์/Thesis}, address = {พิษณุโลก}, abstract = {

การวิจัยในครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อการศึกษาศักยภาพของโรงเรียนประถมศึกษาในการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่น และเพื่อเปรียบเทียบศักยภาพของโรงเรียนประถมศึกษาในการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่นสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดพิษณุโลก โดยจำแนกตามตำแหน่งหน้าที่ของข้าราชการครูและขนาดของโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นผู้บริหารโรงเรียนและครูโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดพิษณุโลก ปีการศึกษา 2545 จำนวน 360 คน เป็นผู้บริหารโรงเรียน 180 คน ครูผู้สอน 180 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมีลักษณะเป็นมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมุติฐาน คือ t-test , F-test และเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยโดยวิธีของเชฟเฟ่ ผลการวิจัยพบว่า 1. ศักยภาพของโรงเรียนประถมศึกษาในการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่น สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดพิษณุโลก ในภาพรวมและรายข้ออยู่ในระดับปานกลาง 2. ผู้บริหารโรงเรียนและครูผู้สอนมีศักยภาพในการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่นไม่แตกต่างกัน 3. ผู้บริหารโรงเรียนที่อยู่ในโรงเรียนที่มีขนาดแตกต่างกันมีศักยภาพในการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่นไม่แตกต่างกัน 4. ครูผู้สอนที่สังกัดโรงเรียนที่มีขนาดต่างกันมีศักยภาพในการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทาสถิติที่ระดับ .05

}, keywords = {การจัดทำหลักสูตรท้องถิ่น, จังหวัดพิษณุโลก, ศักยภาพ, ศักยภาพของโรงเรียนประถมศึกษา, สำนักงานการประถมศึกษา, โรงเรียนประถมศึกษา}, url = {http://etheses.psru.ac.th/lib-irpsru/?q=th/node/152}, author = {เรณู, ช้างทอง} } @mastersthesis {331, title = {การศึกษาศักยภาพของโรงเรียนประถมศึกษาในการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่น สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดพิษณุโลก}, volume = {ครุศาสตรมหาบัณฑิต}, year = {2547}, month = {2547-05-17}, school = {มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.}, type = {วิทยานิพนธ์/Thesis}, address = {พิษณุโลก.}, abstract = {การวิจัยในครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อการศึกษาศักยภาพของโรงเรียนประถมศึกษาในการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่น และเพื่อเปรียบเทียบศักยภาพของโรงเรียนประถมศึกษาในการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่นสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดพิษณุโลก โดยจำแนกตามตำแหน่งหน้าที่ของข้าราชการครูและขนาดของโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นผู้บริหารโรงเรียนและครูโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดพิษณุโลก ปีการศึกษา 2545 จำนวน 360 คน เป็นผู้บริหารโรงเรียน 180 คน ครูผู้สอน 180 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมีลักษณะเป็นมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมุติฐาน คือ t-test , F-test และเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยโดยวิธีของเชฟเฟ่ ผลการวิจัยพบว่า 1. ศักยภาพของโรงเรียนประถมศึกษาในการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่น สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดพิษณุโลก ในภาพรวมและรายข้ออยู่ในระดับปานกลาง 2. ผู้บริหารโรงเรียนและครูผู้สอนมีศักยภาพในการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่นไม่แตกต่างกัน 3. ผู้บริหารโรงเรียนที่อยู่ในโรงเรียนที่มีขนาดแตกต่างกันมีศักยภาพในการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่นไม่แตกต่างกัน 4. ครูผู้สอนที่สังกัดโรงเรียนที่มีขนาดต่างกันมีศักยภาพในการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทาสถิติที่ระดับ .05}, keywords = {การจัดทำหลักสูตรท้องถิ่น, จังหวัดพิษณุโลก, ศักยภาพ, ศักยภาพของโรงเรียนประถมศึกษา, สพป.พิษณุโลก, สำนักงานการประถมศึกษา, โรงเรียนประถมศึกษา}, author = {เรณู, ช้างทอง} }