@mastersthesis {122, title = {การศึกษาสภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ของข้าราชการครู สังกัดสำนักงานการประถมศึกษา จังหวัดสุโขทัย}, volume = {ครุศาสตรมหาบัณฑิต}, year = {2549}, school = {มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ}, address = {พิษณุโลก}, abstract = { การศึกษาสภาพกระบวนการเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ของข้าราชการครู สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสุโขทัย มีจุดมุ่งหมายเพื่อการศึกษาสภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ของข้าราชการครู สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสุโขทัย และเพื่อเปรียบเทียบสภาพการจัด จัดกระบวนการเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ของข้าราชการครูสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสุโขทัย จำแนกตามระดับชั้นที่สอน ระดับการศึกษา และประสบการณ์ในการสอน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ครูผู้สอนระดับก่อนประถมศึกษา ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสุโขทัย จำนวน 367 คน โดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามชนิดมาตรส่วนประมาณค่า (Rating Scale) การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS FOR WINDOWS สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน F-test และทดสอบรายคู่โดยวิธีการของเชฟเฟ่ (Scheffe{\textquoteright}s Method) ผลการวิจัยพบว่า 1. ครูผู้สอนระดับก่อนประถมศึกษา ประถมศึกษา และมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานการประถมศึกษา จังหวัดสุโขทัย มีสภาพการจัดกระบวนการที่สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ทั้ง 6 ด้าน โดยภาพรวมสภาพการจัดการเรียนรู้อยู่ในระดับปานกลาง 2. ครูผู้ที่สอนในระดับชั้นต่างกัน ในภาพรวมมีสภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ครูผู้สอนที่มีระดับการศึกษาต่างกัน ในภาพรวมมีสภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 4. ครูผู้สอนที่มีประสบการณ์ในการสอนต่างกัน ในภาพรวมมีสภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05}, keywords = {การจัดกระบวนการเรียนรู้, ข้าราชการครู, จังหวัดสุโขทัย, พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542, พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542, สพป.สุโขทัย, สำนักงานการประถมศึกษา}, author = {ทิพย์วรรณ, คล่ำคง} } @mastersthesis {135, title = {ปัญหาการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาในโรงเรียนตามทรรศนะของผู้บริหารและครูวิชาการโรงเรียนสังกัดสำนักงานการประถมศึกษา จังหวัดพิจิตร}, volume = {ครุศาสตรมหาบัณฑิต}, year = {2548}, school = {มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม}, address = {พิษณุโลก}, abstract = {การวิจัยปัญหาการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาในโรงเรียน ตามทรรศนะของผู้บริหารและครูวิชาการโรงเรียน สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดพิจิตร มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาปัญหาการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาในโรงเรียน สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดพิจิตร ตามทรรศนะของผู้บริหารและครูวิชาการโรงเรียน เพื่อเปรียบเทียบทรรศนะของผู้บริหารที่มีต่อการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาในโรงเรียน สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดพิจิตร จำแนกตามประสบการณ์ในตำแหน่งผู้บริหารและขนาดโรงเรียน และเพื่อเปรียบเทียบทรรศนะของครูวิชาการที่มีต่อการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาในโรงเรียน สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดพิจิตร จำแนกตามประสบการณ์ในการปฏิบัติหน้าที่ครูวิชาการและขนาดโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นผู้บริหารโรงเรียน ครูวิชาโรงเรียน ปีการศึกษา 2542 โดยการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) เป็นผู้บริหารโรงเรียนจำนวน 176 คน ครูวิชาการโรงเรียนจำนวน 176 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามที่มีลักษณะเป็นแบบสำรวจตรวจสอบรายการ (Check List) และแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าสถิติร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานด้วยค่า F- test และ t {\textendash} test ผลการศึกษาปัญหาการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาในโรงเรียน สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดพิจิตร ตามทรรศนะของผู้บริหารและครูวิชาการโรงเรียน พบว่า 1. ผู้บริหารและครูวิชาการโรงเรียนมีทรรศนะต่อปัญหาต่อการดำเนินงาน การประกันคุณภาพการศึกษา ด้านมาตรฐานคุณภาพนักเรียน ด้านมาตรฐานการเรียนการสอน และด้านมาตรฐานการบริหารโรงเรียน อยู่ในระดับปานกลาง 2. ผลการเปรียบเทียบทรรศนะของผู้บริหารโรงเรียนที่มีต่อการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษา ด้านมาตรฐานคุณภาพนักเรียน ด้านมาตรฐานการเรียนการสอน และด้านมาตรฐานการบริหารโรงเรียน อยู่ในระดับปานกลาง 3. ผลการเปรียบเทียบทรรศนะของครูวิชาการที่มีต่อการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศ฿กษาในโรงเรียน สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดพิจิตร จำแนกตามประสบการณ์ในตำแหน่งครูวิชาการ และขนาดโรงเรียน พบว่าครูวิชาการที่มีประสบการณ์ต่างกันมีทรรศนะต่อปัญหาการประกันคุณภาพการศึกษา ไม่แตกต่างกัน และครูวิชาการโรงเรียนขนาดต่างกัน มีทรรศนะต่อปัญหาการประกันคุณภาพการศึกษา ไม่แตกต่างกัน}, keywords = {การดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา, การประกันคุณภาพการศึกษา, ครูวิชาการโรงเรียน, จังหวัดพิจิตร, ผู้บริหารและครูวิชาการ, สำนักงานการประถมศึกษา, โรงเรียนตามทรรศนะของผู้บริหาร}, author = {บำรุง, เสือนาราง} } @mastersthesis {176, title = {การศึกษาความต้องการด้านการนิเทศการศึกษาของครู โรงเรีขยนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดกำแพงเพชร}, volume = {ครุศาสตรมหาบัณฑิต}, year = {2547}, school = {มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม}, address = {พิษณุโลก}, keywords = {การศึกษาของครู, ความต้องการด้านการนิเทศ, ความต้องการด้านการนิเทศการศึกษาของครู, จังหวัดกำแพงเพชร, สำนักงานการประถมศึกษา, โรงเรีขยนประถมศึกษา}, author = {จิระ, โตมะนิตย์} } @mastersthesis {152, title = {การศึกษาศักยภาพของโรงเรียนประถมศึกษาในการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่น สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดพิษณุโลก}, volume = { ครุศาสตรมหาบัณฑิต}, year = {2547}, school = {มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม}, type = {วิทยานิพนธ์/Thesis}, address = {พิษณุโลก}, abstract = {

การวิจัยในครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อการศึกษาศักยภาพของโรงเรียนประถมศึกษาในการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่น และเพื่อเปรียบเทียบศักยภาพของโรงเรียนประถมศึกษาในการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่นสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดพิษณุโลก โดยจำแนกตามตำแหน่งหน้าที่ของข้าราชการครูและขนาดของโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นผู้บริหารโรงเรียนและครูโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดพิษณุโลก ปีการศึกษา 2545 จำนวน 360 คน เป็นผู้บริหารโรงเรียน 180 คน ครูผู้สอน 180 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมีลักษณะเป็นมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมุติฐาน คือ t-test , F-test และเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยโดยวิธีของเชฟเฟ่ ผลการวิจัยพบว่า 1. ศักยภาพของโรงเรียนประถมศึกษาในการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่น สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดพิษณุโลก ในภาพรวมและรายข้ออยู่ในระดับปานกลาง 2. ผู้บริหารโรงเรียนและครูผู้สอนมีศักยภาพในการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่นไม่แตกต่างกัน 3. ผู้บริหารโรงเรียนที่อยู่ในโรงเรียนที่มีขนาดแตกต่างกันมีศักยภาพในการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่นไม่แตกต่างกัน 4. ครูผู้สอนที่สังกัดโรงเรียนที่มีขนาดต่างกันมีศักยภาพในการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทาสถิติที่ระดับ .05

}, keywords = {การจัดทำหลักสูตรท้องถิ่น, จังหวัดพิษณุโลก, ศักยภาพ, ศักยภาพของโรงเรียนประถมศึกษา, สำนักงานการประถมศึกษา, โรงเรียนประถมศึกษา}, url = {http://etheses.psru.ac.th/lib-irpsru/?q=th/node/152}, author = {เรณู, ช้างทอง} } @mastersthesis {331, title = {การศึกษาศักยภาพของโรงเรียนประถมศึกษาในการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่น สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดพิษณุโลก}, volume = {ครุศาสตรมหาบัณฑิต}, year = {2547}, month = {2547-05-17}, school = {มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.}, type = {วิทยานิพนธ์/Thesis}, address = {พิษณุโลก.}, abstract = {การวิจัยในครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อการศึกษาศักยภาพของโรงเรียนประถมศึกษาในการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่น และเพื่อเปรียบเทียบศักยภาพของโรงเรียนประถมศึกษาในการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่นสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดพิษณุโลก โดยจำแนกตามตำแหน่งหน้าที่ของข้าราชการครูและขนาดของโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นผู้บริหารโรงเรียนและครูโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดพิษณุโลก ปีการศึกษา 2545 จำนวน 360 คน เป็นผู้บริหารโรงเรียน 180 คน ครูผู้สอน 180 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมีลักษณะเป็นมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมุติฐาน คือ t-test , F-test และเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยโดยวิธีของเชฟเฟ่ ผลการวิจัยพบว่า 1. ศักยภาพของโรงเรียนประถมศึกษาในการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่น สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดพิษณุโลก ในภาพรวมและรายข้ออยู่ในระดับปานกลาง 2. ผู้บริหารโรงเรียนและครูผู้สอนมีศักยภาพในการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่นไม่แตกต่างกัน 3. ผู้บริหารโรงเรียนที่อยู่ในโรงเรียนที่มีขนาดแตกต่างกันมีศักยภาพในการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่นไม่แตกต่างกัน 4. ครูผู้สอนที่สังกัดโรงเรียนที่มีขนาดต่างกันมีศักยภาพในการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทาสถิติที่ระดับ .05}, keywords = {การจัดทำหลักสูตรท้องถิ่น, จังหวัดพิษณุโลก, ศักยภาพ, ศักยภาพของโรงเรียนประถมศึกษา, สพป.พิษณุโลก, สำนักงานการประถมศึกษา, โรงเรียนประถมศึกษา}, author = {เรณู, ช้างทอง} }