@mastersthesis {49, title = {การประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 39}, volume = {ครุศาสตรมหาบัณฑิต}, year = {2556}, month = {2557-04-01}, school = {มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม}, address = {พิษณุโลก}, keywords = {การประเมินโครงการ, สพม.39, สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 39, โรงเรียนมัธยมศึกษา, โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ}, author = {อมรรัตน์ ,พึ่งน่วม} } @mastersthesis {214, title = {ความรู้ความสามารถพื้นฐานทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติและกรมสามัญศึกษาในเขตอำเภอเมือง จังหวัดตาก}, volume = {ครุศาสตรมหาบัณฑิต}, year = {2547}, school = {มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม}, address = {พิษณุโลก}, abstract = {การศึกษาครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความรู้ความสามรถพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติและสังกัดกรมสามัญศึกษา ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดตากจำแนกตามสังกัดสถานศึกษาและขนาดของโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติและสังกัดกรมสามัญศึกษา ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดตาก จำนวน 478 คน โดยวิธีสุ่มแบบง่าย (Sampl Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบทดสอบ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการทดสอบคือ ค่าที t-test ค่าเอฟ F-test และแบบทดสอบรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ (Scheffe Method) ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีความรู้ความสามารถพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในภาพรวมอยู่ในระดับ ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ด้านการมีจิตใจเป็นวิทยาศาสตร์ มีความสามารถอยู่ในระดับ ปานกลาง ส่วนด้านการเข้าใจสิ่งแวดล้อมด้านการใช้กระบวนการคิดหาเหตุผลเพื่อที่จะเข้าใจสิ่งแวดล้อม และด้านการนำความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ประโยชน์ ความสามารถอยู่ในระดับ ต่ำกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำ 2. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ มีความรู้ความสามารถพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในภาพรวมอยู่ในระดับ ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ด้านการมีจิตใจเป็นวิทยาศาสตร์ มีความสามารถอยู่ในระดับ ปานกลาง ด้านการเข้าใจสิ่งแวดล้อมความสามรถอยู่ในระดับผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ ส่วนด้านการนำความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ประโยชน์ และด้านการใช้กระบวนการคิดหาเหตุผลเพื่อที่จะเข้าใจสิ่งแวดล้อม ระดับความสามารถอยู่ในระดับ ต่ำกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำ 3. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดกรมสามัญศึกษา มีความรู้ความสามารถพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในภาพรวมอยู่ในระดับ ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ด้านการมีจิตใจเป็นวิทยาศาสตร์และด้านความเข้าใจสิ่งแวดล้อม มีความสามารถอยู่ในระดับ ปานกลาง ส่วนด้านการใช้กระบวนการคิดหาเหตุผลเพื่อที่จะเข้าใจสิ่งแวดล้อม และด้านการนำความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ประโยชน์ มีความสามรถอยู่ในระดับต่ำกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำ 4. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ ที่ขนาดต่างกัน มีความรู้ความสามารถพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิตที่ระดับ .05 5. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนในสังกัดกรมสามัญศึกษา มีขนาดต่างกันมีความรู้ความสามารถพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิตที่ระดับ .05}, keywords = {โรงเรียนมัธยมศึกษา}, author = {โสภิดา, บุญมี} } @mastersthesis {365, title = {การศึกษาความเข้าใจด้านกระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก}, volume = { ครุศาสตรมหาบัณฑิต}, year = {2546}, school = {มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม}, type = {วิทยานิพนธ์}, address = {พิษณุโลก}, abstract = { การศึกษาความเข้าใจด้านทักษะกระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษา และเปรียบเทียบความเข้าใจด้านทักษะกระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศษสตร์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก จำแนกตามเพศและสถานศึกษากลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก จำนวน 484 คนโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็น แบวัดทดสอบความเข้าใจด้านกระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติการมดสอบที่ (t-test) และการทดสอบเอฟ (F-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก มีความเข้าใจด้าน กระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และเมือพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ความเข้าใจด้านวิธีการทางวิทยาศาสตร์ และด้านค่านิยมทางวิทยาศาสตร์ อยู่ในระดับสูงส่วนด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มีความเข้าใจอยู่ในระดับปานกล่าง 2. นักเรียนชายและหญิง มรความเข้าใจด้านกระบวนการแสวงหาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ ไม่แตกต่างกัน 3. นักเรียนที่เรียนนักเรียนในสถานศึกษาต่างกัน มีความเข้าใจด้านกระบวนการแสวงหาความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05}, keywords = {ความรู้ทางวิทยาศาสตร์, นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6, โรงเรียนมัธยมศึกษา}, author = {ณัฏฐวีร์, เงินทอง} } @mastersthesis {243, title = {การศึกษาความเข้าใจด้านกระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก}, volume = {ครุศาสตรมหาบัณฑิต}, year = {2546}, school = {มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม}, address = {พิษณุโลก}, abstract = {การศึกษาความเข้าใจด้านทักษะกระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษา และเปรียบเทียบความเข้าใจด้านทักษะกระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศษสตร์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก จำแนกตามเพศและสถานศึกษากลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก จำนวน 484 คนโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็น แบวัดทดสอบความเข้าใจด้านกระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติการมดสอบที่ (t-test) และการทดสอบเอฟ (F-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก มีความเข้าใจด้าน กระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และเมือพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ความเข้าใจด้านวิธีการทางวิทยาศาสตร์ และด้านค่านิยมทางวิทยาศาสตร์ อยู่ในระดับสูงส่วนด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มีความเข้าใจอยู่ในระดับปานกล่าง 2. นักเรียนชายและหญิง มรความเข้าใจด้านกระบวนการแสวงหาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ ไม่แตกต่างกัน 3. นักเรียนที่เรียนนักเรียนในสถานศึกษาต่างกัน มีความเข้าใจด้านกระบวนการแสวงหาความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05}, keywords = {โรงเรียนมัธยมศึกษา}, author = {ณัฏฐวีร์ เงินทอง} } @mastersthesis {222, title = {ความรู้ความสามารถพื้นฐานทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติและกรมสามัญศึกษาในเขตอำเภอเมือง จังหวัดตาก}, volume = {ครุศาสตรมหาบัณฑิต}, year = {2546}, abstract = {การศึกษาครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความรู้ความสามรถพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติและสังกัดกรมสามัญศึกษา ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดตากจำแนกตามสังกัดสถานศึกษาและขนาดของโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติและสังกัดกรมสามัญศึกษา ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดตาก จำนวน 478 คน โดยวิธีสุ่มแบบง่าย (Sampl Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบทดสอบ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการทดสอบคือ ค่าที t-test ค่าเอฟ F-test และแบบทดสอบรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ (Scheffe Method) ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีความรู้ความสามารถพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในภาพรวมอยู่ในระดับ ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ด้านการมีจิตใจเป็นวิทยาศาสตร์ มีความสามารถอยู่ในระดับ ปานกลาง ส่วนด้านการเข้าใจสิ่งแวดล้อมด้านการใช้กระบวนการคิดหาเหตุผลเพื่อที่จะเข้าใจสิ่งแวดล้อม และด้านการนำความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ประโยชน์ ความสามารถอยู่ในระดับ ต่ำกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำ 2. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ มีความรู้ความสามารถพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในภาพรวมอยู่ในระดับ ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ด้านการมีจิตใจเป็นวิทยาศาสตร์ มีความสามารถอยู่ในระดับ ปานกลาง ด้านการเข้าใจสิ่งแวดล้อมความสามรถอยู่ในระดับผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ ส่วนด้านการนำความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ประโยชน์ และด้านการใช้กระบวนการคิดหาเหตุผลเพื่อที่จะเข้าใจสิ่งแวดล้อม ระดับความสามารถอยู่ในระดับ ต่ำกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำ 3. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดกรมสามัญศึกษา มีความรู้ความสามารถพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในภาพรวมอยู่ในระดับ ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ด้านการมีจิตใจเป็นวิทยาศาสตร์และด้านความเข้าใจสิ่งแวดล้อม มีความสามารถอยู่ในระดับ ปานกลาง ส่วนด้านการใช้กระบวนการคิดหาเหตุผลเพื่อที่จะเข้าใจสิ่งแวดล้อม และด้านการนำความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ประโยชน์ มีความสามรถอยู่ในระดับต่ำกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำ 4. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ ที่ขนาดต่างกัน มีความรู้ความสามารถพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิตที่ระดับ .05 5. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนในสังกัดกรมสามัญศึกษา มีขนาดต่างกันมีความรู้ความสามารถพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิตที่ระดับ .05}, keywords = {โรงเรียนมัธยมศึกษา}, author = {โสภิดา บุญมี} } @mastersthesis {236, title = {การศึกษารูปแบบการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนมัธยมศึกษา : สหวิทยาเขตพิษณุโลก นครไทย อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก}, volume = {ครุศาสตรมหาบัณฑิต}, year = {2545}, school = {มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ}, address = {พิษณุโลก}, abstract = {การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่นในเขตอำเภอนครไทย เพื่อศึกษารูปแบบการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนมัธยมศึกษาสหวิทยาเขตพิษณุโลก นครไทย อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก กลุ่มประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นผู้บริหารโรงเรียนจำนวน 9 คน ครูผู้สอนจำนวน 180 คน ผู้ทรงภูมิปัญญาท้องถิ่นจำนวน 75 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าและแบบสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการ สถิติที่ใช้คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและ การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. ลักษณะภูมิปัญญาท้องถิ่นในเขตอำเภอนครไทย ส่วนใหญ่เป็นวิถีชีวิตในสังคมและชุมชน ที่มีทั้งเป็นรูปธรรมและนามธรรม ซึ่งจำแนกได้เป็น 4 สาขาคือ สาขาอุตสาหกรรมและหัตถกรรม สาขาการแพทย์แผนไทย สาขาศิลปกรรม และสาขาศาสนาและประเพณี โดยภาพรวมยังไม่ได้รับความสนใจและยังไม่เห็นความสำคัญจึงมีการถ่ายทอดความรู้ให้กับบุคคลรุ่นหลังน้อยมาก 2. รูปแบบการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนมัธยมศึกษา : สหวิทยาเขตพิษณุโลก นครไทย อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก ของผู้บริหารและครู โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง}, keywords = {โรงเรียนมัธยมศึกษา}, author = {ทิพาพร, ศรีสุธรรม} } @mastersthesis {237, title = { การศึกษาสภาพและความต้องการในการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดสุโขทัย}, volume = {ครุศาสตรมหาบัณฑิต}, year = {2545}, school = {มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ}, address = {พิษณุโลก}, abstract = {การศึกษาสภาพและความต้องการในการทำวิจัยในชั้นเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดสุโขทัย มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาสภาพและความต้องการในการทำวิจัยในชั้นเรียนและเปรียบเทียบสภาพและความต้องการในการทำวิจัยในชั้นเรียนของครู จำแนกตามวุฒิการศึกษา ประสบการณ์ทำงาน ประสบการณ์การเข้ารับการอบรมด้านการทำวิจัย ขนาดของโรงเรียน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอนโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดสุโขทัย จำนวน 175 คน โดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม เก็บรวบรวมด้วยตนเอง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และ F-test และทดสอบความแตกต่างรายคู่โดยใช้วิธีการของเชฟเฟ่ (Schette{\textquoteright}s Method) ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดสุโขทัย ครูส่วนใหญ่เคยผ่านการอบรมด้านการวิจัย และเคยทำวิจัยในชั้นเรียน คิดเป็นร้อยละ 64.57 ปัญหาการวิจัยที่พบคือ ครูขาดความรู้และทักษะเกี่ยวกับการใช้สถิติเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล ส่วนการเผยแพร่ผลงานการวิจัยนั้น เผยแพร่ในรูปของเอกสาร 2. ความต้องการในการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูมัธยมศึกษา จังหวัดสุโขทัย พบว่า ส่วนใหญ่มีความต้องการด้านความรู้และทักษะมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านเสริมแรงจูงใจ ด้านงบประมาณ ด้านเวลา และด้านแหล่งค้นคว้าและเครื่องอำนวยความสะดวก ซึ่งอยู่ในระดับมาก 3. ครูที่มีวุฒิการศึกษาต่างกัน มีความต้องการทำวิจัยในชั้นเรียนไม่แตกต่างกัน 4. ครูที่มีประสบการณ์การทำงานต่างกัน มีความต้องการในการทำวิจัยในชั้นเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 5. ครูที่มีประสบการณ์การเข้าอบรมด้านการทำวิจัยต่างกัน มีความต้องการในการทำวิจัยในชั้นเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 6. ครูที่อยู่โรงเรียนขนาดต่างกัน มีความต้องการในการทำวิจัยในชั้นเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05}, keywords = {โรงเรียนมัธยมศึกษา}, author = {บุญชู, นาคโต} } @mastersthesis {PSRU1086, title = {การศึกษาความคิดเห็นต่อปัจจัยที่มีผลต่อการประกันคุณภาพการศึกษา ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดพิษณุโลก}, volume = {ครุศาสตรมหาบัณฑิต}, year = {2543}, school = {มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม}, type = {วิทยานิพนธ์/thesis}, address = {จังหวัดพิษณุโลก}, keywords = {การประกันคุณภาพการศึกษา, ความคิดเห็น, จังหวัดพิษณุโลก, ปัจจัยที่มีผลต่อ, สังกัดกรมสามัญศึกษา, โรงเรียนมัธยมศึกษา}, author = {เชาว์, เตล็ดทอง} }