@mastersthesis {364, title = {การศึกษาปัญหาการประกันคุณภาพการศึกษาตามทัศนะของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน อำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย}, volume = {ครุศาสตรมหาบัณฑิต,ปริญญาโท}, year = {2551}, month = {2551-05-20}, school = {มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม}, type = {วิทยานิพนธ์/Thesis}, address = {จังหวัดพิษณุโลก}, abstract = {การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อศึกษาปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาการประกันคุณภาพการศึกษาตามทัศนะของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน อำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย ซึ่งมี3 ด้าน ได้แก่ ผู้บริหาร ครูผู้สอนและผู้เรียน จำแนกตามตำแหน่งงาน วุฒิการศึกษาและประสบการณ์ในการทำงาน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน อำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย จำนวนทั้งสิ้น 236 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามที่มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการแบบมาตรฐานส่วนประมาณค่าและแบบปลายเปิด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test การวิเคราะห์ ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปและการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. ปัญหาการประกันคุณภาพการศึกษาตามทัศนะของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนในสถานศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน อำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย ภาพรวมมีปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาแต่ละด้านของคุณภาพมาตรฐาน พบว่า คุณภาพมาตรฐานที่มีปัญหามากที่สุดคือ คุณภาพมาตรฐานด้านผู้เรียน รองลงมาคือ คุณภาพมาตรฐานด้านครู และคุณภาพมาตรฐานด้านผู้บริหาร 2. การเปรียบเทียบปัญหาการประกันคุณภาพตามทัศนะของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนในสถานศึกษาจำแนกตามตำแหน่งงาน วุฒิการศึกษาและประสบการณ์ในการทำงาน โดยรวมทุกด้าน พบว่า ไม่แตกต่างกัน แต่ทัศนะของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนในสถานศึกษาต่อปัญหาการประกันคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา จำแนกตามวุฒิการศึกษา ในด้านผู้เรียนมาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนมีความสามารถในการวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรองและมีวิสัยทัศน์ แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3. แนวทางแก้ไขปัญหาการประกันคุณภาพการศึกษาตามทัศนของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนในสถานศึกษา พบว่า ผู้บริหารควรมอบหมายงานตามความถนัด ควรได้รับการพัฒนาด้านการบริหารเพิ่มเตอม เปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมนำเทคโนโลยีใหม่ๆเข้ามาใช้ในการจัดการศึกษาด้านครูผู้สอนควรจัดการอบรมพัฒนาความรู้โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย จัดทำแผนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญจัดจำนวนครูให้เพียงพอตามเกณฑ์ของคณะกรรมการข้าราชการครู ลดภาระงานของครู จัดหาแหล่งการเรียนรู้และส่งเสริมสื่อเทคโนโลยีให้เพียงพอ ด้านผู้เรียนจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม สำนึกรักในท้องถิ่น ฝึกทักษะ กระบวนการคิด วิเคราะห์ มีการประเมินผลตามสภาพจริงของผู้เรียน และควรมีการกำหนดเกณฑ์อายุของผู้เรียนอย่างชัดเจน}, keywords = {ประกันคุณภาพการศึกษา, ผู้บริหารสถานศึกษา}, author = {สุทิน พรจันทรารักษ์} } @mastersthesis {332, title = {คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้ประเมินคุณภาพนอก ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามทัศนะของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษษพิษณุโลกเขต 1}, year = {2549}, month = { 2549-10-28}, school = {มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม}, type = {วิทยานิพนธ์/Thesis}, address = {จังหวัดพิษณุโลก}, abstract = {การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้ประเมินคุณภาพภายนอกระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามทัศนะของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพิษณุโลกเขต1 จำแนกตามตำแหน่งหน้าที่และประเภทของโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน จำนวน 180 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมุติฐานโดยการใช้การทดสอบค่า t-test ผลการวิจัยพบว่า ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนมีทัศนะต่อคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้ประเมินคุณภาพภายนอกระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้านคุณธรรมและบุคลิกภาพ ด้านความรู้ความสามารถในการประเมิน และด้านความสามารถในการสื่อสารในระดับมากทั้งในภาพรวมเป็นรายข้อ โดยคุณลักษณะด้านคุณธรรมและบุคลิกภาพมีค่าเฉลี่ยสูงสุดอันดับแรก ได้แก่การรักษาข้อมูลที่เป็นความลับของสถานศึกษา ด้านความรู้ความสามารถในการประเมินค่าเฉลี่ยสูงสุดอันดับแรกได้แก่ ความสามารถในการประเมินและสรุปผลในภาพรวม และด้านความสามารถในการสื่อสารมีค่าเฉลี่ยสูงสุดอันดับแรกได้แก่ คือความสามารถในการใช้คำวิพากวิจารณ์ในทางสร้างสรรค์ลักษณะที่เป็นมิตร เมื่อเปรียบเทียบทัศนะของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนที่มีต่อคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้ประเมินคุณภาพภายนอกจำแนกตามตำแหน่งหน้าที่และประเภทของโรงเรียนพบว่าไม่แตกต่างกัน}, keywords = {ประกันคุณภาพการศึกษา}, author = {ประเสริฐ จำปาแดง} } @article {671, title = {การวิเคราะห์หารูปแบบเพื่อพัฒนาการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของส่วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม}, year = {2548}, month = {2548}, institution = {มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม}, type = {วิจัย}, address = {พิษณุโลก}, keywords = {งานประกันคุณภาพการศึกษา, ประกันคุณภาพ, ประกันคุณภาพการศึกษา}, author = {วัลภา, ศศิวิมล}, editor = {ทัศนีย์, ศิริวรรณ and เดือนเพ็ญ, สนแย้ม} } @mastersthesis {215, title = {กระบวนการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาที่ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพิษณุโลก เขต 1}, volume = {ครุศาสตรมหาบัณฑิต}, year = {2546}, school = {มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ}, address = {พิษณุโลก}, abstract = {การวิจัยครั้งนี้มีวัตุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาที่ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศ฿กษาพิษณุโลก เขต 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียน ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียน และครูผู้สอนในโรงเรียนประถมศึกษาจำนวน 6 แห่ง ซึ่งได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ การศ฿กษาเอกสารและการสังเกตพฤติกรรมการเรียนและการสอนแนะนำเสนอข้อมูลในลักษณะของการบรรยายตามขอบเขตของการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า 1. โรงเรียนจัดระบบการบริหารภายในสถานศึกษา มีโครงสร้างการบริหารงานชัดเจน กำหนดบทบาทหน้าที่รับผิดชอบและกำกับ นิเทศ ติดตามประเมินผล จัดระบบสารสนเทศและมีข้อมูลอย่างเพียงพอในการดำเนินงาน 2. โรงเรียนกำหนดมาตรฐานการศึกษา มีขั้นตอนที่ชัดเจนสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ครอบคลุมสาระการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนสถานศึกษาและท้องถิ่น โดยชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม 3. โรงเรียนจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาระดับสถานศึกษา สภาพความต้องการของโรงเรียนและท้องถิ่นที่มุ่งเน้นคุณภาพนักเรียนเกิดจากการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4. โรงเรียนดำเนินโครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏิบัติการประจำปี ทุกกิจกรรมมีการควบคุมกำกับ ติดตามและนิเทศให้การดำเนินงานบรรลุตามแผนปฏิบัติการประจำปี 5. โรงเรียนวางแผนการตรวจสอบทบทวนคุณภาพการศึกษาโดยกำหนดผู้รับผิดชอบและให้บุคลากรกรทุกฝ่ายมีส่วนร่วมและใช้วิธีที่หลากหลายครอบคลุมมาตรฐานการศึกษาระดับสถานศึกษา การบริหารจัดการ การจัดการการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ และดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง นำผลการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศ฿กาษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 6. โรงเรียนประเมินคุณภาพการศึกษาครอบคลุมทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้คุณลักษณะอันพึงประสงค์ การอ่าน การเขียน การคิดวิเคราะห์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้วยเครื่องมือที่หลากหลายและดำเนินตามมาตรฐานการศึกษาระดับสถานศึกษา 7. โรงเรียนจัดทำรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปีเสนอต่หน่วยงานต้นสังกัดหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน ครอบคลุมมาตรฐานการศึกษา การบริหารจัดการการจัดการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ จุดเด่น / ด้อย แนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยมีผู้รับผิดชอบชัดเจนและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม 8. โรงเรียนปรับปรุง พัฒนา และรักษาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้มี ประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง ปัญหาการดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาได้แก่ ปัญหาด้านบุคลากรซึ่งขาดทักษะและเทคนิคในการวัดผลและประเมินผล ขาดทักษะด้านการวางแผน ครูส่วนใหญ่ยังไม่เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการสอนยังคงใช้วิธีการสอนแบบเดิม วัสดุอุปกรณ์การเรียนการสอนมีน้อยและเก่าไม่เพียงพอกับความต้องการ การดำเนินงานตามแผนไม่เป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด}, keywords = {ประกันคุณภาพการศึกษา}, author = {บุญลือ, มูลสวัสดิ์} } @mastersthesis {352, title = {กระบวนการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาที่ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพิษณุโลก เขต 1}, volume = {ครุศาสตรมหาบัณฑิต}, year = {2546}, month = { 2546-10-03}, school = {มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.}, type = {วิทยานิพนธ์/Thesis}, address = {พิษณุโลก.}, abstract = { การวิจัยครั้งนี้มีวัตุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาที่ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศ฿กษาพิษณุโลก เขต 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียน ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียน และครูผู้สอนในโรงเรียนประถมศึกษาจำนวน 6 แห่ง ซึ่งได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ การศ฿กษาเอกสารและการสังเกตพฤติกรรมการเรียนและการสอนแนะนำเสนอข้อมูลในลักษณะของการบรรยายตามขอบเขตของการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า 1. โรงเรียนจัดระบบการบริหารภายในสถานศึกษา มีโครงสร้างการบริหารงานชัดเจน กำหนดบทบาทหน้าที่รับผิดชอบและกำกับ นิเทศ ติดตามประเมินผล จัดระบบสารสนเทศและมีข้อมูลอย่างเพียงพอในการดำเนินงาน 2. โรงเรียนกำหนดมาตรฐานการศึกษา มีขั้นตอนที่ชัดเจนสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ครอบคลุมสาระการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนสถานศึกษาและท้องถิ่น โดยชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม 3. โรงเรียนจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาระดับสถานศึกษา สภาพความต้องการของโรงเรียนและท้องถิ่นที่มุ่งเน้นคุณภาพนักเรียนเกิดจากการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4. โรงเรียนดำเนินโครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏิบัติการประจำปี ทุกกิจกรรมมีการควบคุมกำกับ ติดตามและนิเทศให้การดำเนินงานบรรลุตามแผนปฏิบัติการประจำปี 5. โรงเรียนวางแผนการตรวจสอบทบทวนคุณภาพการศึกษาโดยกำหนดผู้รับผิดชอบและให้บุคลากรกรทุกฝ่ายมีส่วนร่วมและใช้วิธีที่หลากหลายครอบคลุมมาตรฐานการศึกษาระดับสถานศึกษา การบริหารจัดการ การจัดการการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ และดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง นำผลการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศ฿กาษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 6. โรงเรียนประเมินคุณภาพการศึกษาครอบคลุมทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้คุณลักษณะอันพึงประสงค์ การอ่าน การเขียน การคิดวิเคราะห์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้วยเครื่องมือที่หลากหลายและดำเนินตามมาตรฐานการศึกษาระดับสถานศึกษา 7. โรงเรียนจัดทำรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปีเสนอต่หน่วยงานต้นสังกัดหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน ครอบคลุมมาตรฐานการศึกษา การบริหารจัดการการจัดการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ จุดเด่น / ด้อย แนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยมีผู้รับผิดชอบชัดเจนและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม 8. โรงเรียนปรับปรุง พัฒนา และรักษาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้มี ประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง ปัญหาการดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาได้แก่ ปัญหาด้านบุคลากรซึ่งขาดทักษะและเทคนิคในการวัดผลและประเมินผล ขาดทักษะด้านการวางแผน ครูส่วนใหญ่ยังไม่เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการสอนยังคงใช้วิธีการสอนแบบเดิม วัสดุอุปกรณ์การเรียนการสอนมีน้อยและเก่าไม่เพียงพอกับความต้องการ การดำเนินงานตามแผนไม่เป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด}, keywords = {ประกันคุณภาพการศึกษา}, author = {บุญลือ, มูลสวัสดิ์} } @mastersthesis {358, title = {กระบวนการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาที่ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพิษณุโลก เขต 1}, volume = { ครุศาสตรมหาบัณฑิต}, year = {2546}, school = {มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม}, type = {วิทยานิพนธ์}, address = {พิษณุโลก}, abstract = {การวิจัยครั้งนี้มีวัตุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาที่ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศ฿กษาพิษณุโลก เขต 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียน ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียน และครูผู้สอนในโรงเรียนประถมศึกษาจำนวน 6 แห่ง ซึ่งได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ การศ฿กษาเอกสารและการสังเกตพฤติกรรมการเรียนและการสอนแนะนำเสนอข้อมูลในลักษณะของการบรรยายตามขอบเขตของการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า 1. โรงเรียนจัดระบบการบริหารภายในสถานศึกษา มีโครงสร้างการบริหารงานชัดเจน กำหนดบทบาทหน้าที่รับผิดชอบและกำกับ นิเทศ ติดตามประเมินผล จัดระบบสารสนเทศและมีข้อมูลอย่างเพียงพอในการดำเนินงาน 2. โรงเรียนกำหนดมาตรฐานการศึกษา มีขั้นตอนที่ชัดเจนสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ครอบคลุมสาระการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนสถานศึกษาและท้องถิ่น โดยชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม 3. โรงเรียนจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาระดับสถานศึกษา สภาพความต้องการของโรงเรียนและท้องถิ่นที่มุ่งเน้นคุณภาพนักเรียนเกิดจากการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4. โรงเรียนดำเนินโครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏิบัติการประจำปี ทุกกิจกรรมมีการควบคุมกำกับ ติดตามและนิเทศให้การดำเนินงานบรรลุตามแผนปฏิบัติการประจำปี 5. โรงเรียนวางแผนการตรวจสอบทบทวนคุณภาพการศึกษาโดยกำหนดผู้รับผิดชอบและให้บุคลากรกรทุกฝ่ายมีส่วนร่วมและใช้วิธีที่หลากหลายครอบคลุมมาตรฐานการศึกษาระดับสถานศึกษา การบริหารจัดการ การจัดการการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ และดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง นำผลการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศ฿กาษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 6. โรงเรียนประเมินคุณภาพการศึกษาครอบคลุมทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้คุณลักษณะอันพึงประสงค์ การอ่าน การเขียน การคิดวิเคราะห์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้วยเครื่องมือที่หลากหลายและดำเนินตามมาตรฐานการศึกษาระดับสถานศึกษา 7. โรงเรียนจัดทำรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปีเสนอต่หน่วยงานต้นสังกัดหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน ครอบคลุมมาตรฐานการศึกษา การบริหารจัดการการจัดการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ จุดเด่น / ด้อย แนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยมีผู้รับผิดชอบชัดเจนและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม 8. โรงเรียนปรับปรุง พัฒนา และรักษาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้มี ประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง ปัญหาการดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาได้แก่ ปัญหาด้านบุคลากรซึ่งขาดทักษะและเทคนิคในการวัดผลและประเมินผล ขาดทักษะด้านการวางแผน ครูส่วนใหญ่ยังไม่เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการสอนยังคงใช้วิธีการสอนแบบเดิม วัสดุอุปกรณ์การเรียนการสอนมีน้อยและเก่าไม่เพียงพอกับความต้องการ การดำเนินงานตามแผนไม่เป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด}, keywords = {กระบวนการพัฒนาระบบประกันคุณภาพ, การประเมินคุณภาพ, ประกันคุณภาพการศึกษา}, author = {บุญลือ, มูลสวัสดิ์} } @mastersthesis {224, title = {การศึกษาสภาพความสำเร็จของการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาอำเภอนครไทย}, volume = {ครุศาสตรมหาบัณฑิต}, year = {2546}, school = {มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ}, address = {พิษณุโลก}, abstract = { การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบสภาพความสำเร็จของการประกันคุณภาพในโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาอำเภอนครไทย ตามทัศนะของผู้บริหารและครูผู้สอนในด้านมาตรฐานคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานคุณภาพครู มาตรฐานคุณภาพผู้บริหาร จำแนกตามตำแหน่งงาน ประสบการณ์ในการปฏิบัติหน้าที่ และขนาดของโรงเรียน รวมทั้งศึกษาทัศนะของนักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน ครูและกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับสภาพความสำเร็จของการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาอำเภอนครไทย ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้สอน นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียนและกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาอำเภอนครไทย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเชิงปริมาณ ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียนและ ครูผู้สอน จำนวน 240 คน กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงคุณภาพ ได้แก่ นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน ครูผู้สอนและกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 126 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมีลักษณะเป็นมาตราส่วนประมาณค่า และแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และ F-test โดยเปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยโดยวิธีเชฟเฟ่ ผลการวิจัยพบว่า 1. ความสำเร็จของการประกันคุณภาพภายในโรงเรียน ประถมศึกษาสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาอำเภอนครไทย โดยภาพรวมมีความสำเร็จอยู่ในระดับมาก ส่วนรายด้าน พบว่าด้านมาตรฐานคุณภาพครูและด้านมาตรฐานคุณภาพผู้บริหารมีความสำเร็จอยู่ในระดับมากส่วนด้านมาตรฐานคุณภาพครูและมาตรฐานคุณภาพผู้บริหารมีความสำเร็จอยู่ในระดับมากส่วน ด้านมาตรฐานคุณภาพผู้เรียนมีความสำเร็จอยู่ในระดับปานกลาง 2. ความสำเร็จของการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาอำเภอนครไทยตามทัศนะของผู้บริหารและครูผู้สอนที่มีตำแหน่งงานต่างกันโดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน ส่วนรายด้านพบว่า ด้านมาตรฐานคุณภาพผู้เรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนด้านมาตรฐานคุณภาพครูและด้านมาตรฐานคุณภาพผู้บริหารพบว่า ไม่แตกต่างกัน 3. ความสำเร็จของการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาอำเภอนครไทยตามทัศนะของผู้บริหารและครูผู้สอนที่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติหน้าที่ต่างกัน พบว่า ทั้งโดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน 4. ความสำเร็จของการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาอำเภอนครไทยตามทัศนะของผู้บริหารและครูผู้สอนที่มีขนาดของโรงเรียนต่างกันโดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน ส่วนรายด้านพบว่า ด้านมาตรฐานคุณภาพผู้เรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนด้านมาตรฐานคุณภาพครูและด้านมาตรฐานคุณภาพผู้บริหารพบว่า ไม่แตกต่างกัน 5. ความสำเร็จของการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาอำเภอนครไทยตามทัศนะของนักเรียน ครู ผู้ปกครองนักเรียน และกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า ด้านคุณภาพผู้เรียนมีความสำเร็จอยู่ในระดับพอใช้ ด้านคุณภาพครูและด้านคุณภาพผู้บริหารมีความสำเร็จอยู่ในระดับดี}, keywords = {ประกันคุณภาพการศึกษา}, author = {ยวน, กองจิว} } @mastersthesis {247, title = {การศึกษาปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนระดับก่อนประถมศึกษาถึงระดับประถมศึกษา เขตการศึกษา 7}, volume = {ครุศาสตรมหาบัณฑิต}, year = {2545}, school = {มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม}, type = {วิทยานิพนธ์/Thesis}, address = {พิษณุโลก}, abstract = {

การศึกษาปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนระดับก่อนประถมศึกษาถึงระดับประถมศึกษา เขตการศึกษา 7 มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาปัญหาและเปรียบเทียบปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนเอกชน ระดับก่อนประถมศึกษาถึงระดับประถมศึกษา เขตการศึกษา 7 จำแนกตามวุฒิการศึกษาประสบการณ์ในการดำรงตำแหน่ง สถานภาพด้านกิจการและขนาดของโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียนเอกชนระดับก่อนประถมศึกษาถึงระดับประถมศึกษาเขตการศึกษา 7 จำนวน 81 คน โดยใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Startified Random Sampling) และสุ่มอย่างง่าย (Rating scale) เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตัวเองวิเคราะห์ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS For Windows สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test ,F-test และทดสอบรายคู่โดยวิธีการของเชฟเฟ่ (Scheffe{\textquoteright}Method) ผลการศึกษาพบว่า 1. ปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนระดับก่อนประถมศึกษาถึงระดับประถมศึกษา เขตการศึกษา 7 โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง 2. ผู้บริหารโรงเรียนเอกชนระดับก่อนประถมศึกษาถึงระดับประถมศึกษาเขตการศึกษา 7 ที่มีวุฒิการศึกษาต่างกันมีปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาไม่ต่างกัน 3. ผู้บริหารโรงเรียนเอกชนระดับก่อนประถมศึกษาถึงระดับประถมศึกษาเขตการศึกษา 7 ที่มีประสบการณ์ในการดำรงตำแหน่งต่างกันมีปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาไม่ต่างกัน 4. ผู้บริหารโรงเรียนเอกชนระดับก่อนประถมศึกษาถึงระดับประถมศึกษาเขตการศึกษา 7 ที่มีสถานภาพด้านกิจกรรมต่างกันมีปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาไม่ต่างกัน 5. ผู้บริหารโรงเรียนเอกชนระดับก่อนประถมศึกษาถึงระดับประถมศึกษาเขตการศึกษา 7 ที่ปฏิบัติงามในโรงเรียนที่มีขนาดต่างกันมีปัญหาการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาไม่ต่างกัน

}, keywords = {ประกันคุณภาพการศึกษา}, url = {http://etheses.psru.ac.th/lib-irpsru/?q=th/node/247}, author = {มานพ, ษมาวิมล} } @mastersthesis {397, title = {การศึกษาความพร้อมในการประกันคุณภาพการศึกษา ตามทรรศนะของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา สำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดพิจิตร}, volume = {ครุศาสตรมหาบัณฑิต การบริหารการศึกษา}, year = {2543}, school = {มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม}, address = {พิษณุโลก}, abstract = {การวิจัยการศึกษาความพร้อมในการประกันคุณภาพการศึกษา ตามทัศนะของผู้บริหารโรงเรียนและครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดพิจิตร มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความพร้อมของโรงเรียนในการประกันคุณภาพการศึกษาตามทัศนะของผู้บริหารโรงเรียนและครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดพิจิตรในความพร้อมด้านปัจจัย และความพร้อมด้านกระบวนการ เพื่อเปรียบเทียบความพร้อมของโรงเรียนในการประกันคุณภาพการศึกษาตามทัศนะของผู้บริหารโรงเรียนและครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดพิจิตร ในความพร้อมด้านปัจจัยและความพร้อมด้านกระบวนการและเพื่อเปรียบเทียบความพร้อมของโรงเรียนในการประกันคุณภาพการศึกษาตามทัศนะของผู้บริหารโรงเรียนและครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดพิจิตรจำแนกตามขนาดโรงเรียน ในความพร้อมด้านปัจจัย และความพร้อมด้านกระบวนการ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นผู้บริหารโรงเรียนและครูโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดพิจิตร ปีการศึกษา 2542 จำนวน 531 คน เป็นผู้บริหารโรงเรียน 180 คน ครูโรงเรียนประถมศึกษา จำนวน 351 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ และแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานด้วยค่า t {\textendash} test และ F {\textendash} test ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้บริหารโรงเรียนและครูโรงเรียนประถมศึกษามีทัศนะต่อความพร้อมของโรงเรียนในการประกันคุณภาพการศึกษา ด้านปัจจัย อยู่ในระดับปานกลาง 2. ผู้บริหารโรงเรียนและครูโรงเรียนประถมศึกษามีทรรศนะต่อความพร้อมของโรงเรียนในการประกันคุณภาพการศึกษา ด้านกระบวนการ อยู่ในระดับปานกลาง 3. ผู้บริหารโรงเรียนและครูโรงเรียนประถมศึกษามีทัศนะต่อความพร้อมของโรงเรียนในการประกันคุณภาพการศึกษา ด้านปัจจัย แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 4. ผู้บริหารโรงเรียนและครูโรงเรียนประถมศึกษามีทรรศนะต่อความพร้อมของโรงเรียนในการประกันคุณภาพการศึกษา ด้านกระบวนการ แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ0.05 5. ผู้บริหารโรงเรียนและครูโรงเรียนประถมศึกษามีทัศนะต่อความพร้อมของโรงเรียนในการประกันคุณภาพการศึกษา จำแนกตามขนาดโรงเรียน ด้านปัจจัย แตกต่างกันอย่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 6. ผู้บริหารโรงเรียนและครูโรงเรียนประถมศึกษามีทรรศนะต่อความพร้อมของโรงเรียนในการประกันคุณภาพการศึกษา จำแนกตามขนาดของโรงเรียน ด้านกระบวนการ แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ0.05 }, keywords = {ประกันคุณภาพการศึกษา}, author = {สมบูรณ์, โพธิ์ทอง} }