@article {919, title = {การวิเคราะห์การใช้จ่ายงบประมาณของผู้บริหาร มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ปีงบประมาณ พ.ศ.2556 {\textendash} พ.ศ. 2559}, year = {2560}, publisher = {มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม}, address = {จังหวัดพิษณุโลก}, keywords = {การวิเคราะห์, การใช้จ่าย, งบประมาณ, ปีงบประมาณ พ.ศ.2556 {\textendash} พ.ศ. 2559, ผู้บริหาร, มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม}, url = {http://etheses.psru.ac.th/lib-irpsru/?q=th/node/919}, author = {ณิชนันทน์, ศิริไสยาสน์} } @mastersthesis {33, title = {การศึกษาพฤติกรรมผู้นำของผู้บริหารในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก}, volume = {รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต}, year = {2557}, month = {2557-09-22}, school = {มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม}, type = {วิทยานิพนธ์/Thesis}, address = {พิษณุโลก}, abstract = {การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมผู้นำของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก และเพื่อศึกษาแนวทางสร้างพฤติกรรมของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่พึงประสงค์ โดยศึกษาพฤติกรรมผู้นำ 3 ด้านคือ พฤติกรรมที่เน้นงาน พฤติกรรมที่เน้นความสัมพันธ์ และพฤติกรรมที่เน้นการเปลี่ยนแปลง เป็นการวิจัยเชิงปริมาณใช้กลุ่มตัวอย่างที่ได้จากการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามตารางสำเร็จรูปของเคร็ชซีและมอร์แกน (Krejcie and Morgam) จำนวน 178 คน โดยใช้ระดับความเชื่อมั่นที่ 95 \% เครื่องมือที่ใช้สำหรับการเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติอนุมาน นำมาแจกแจงความถี่หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้มาด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหาสรุปผลเป็นความเรียง ผลการวิจัยพบว่า 1. ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้นำของผู้บริหารในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก พบว่า พฤติกรรมผู้นำของผู้บริหาร ทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านพฤติกรรมที่เน้นความสัมพันธ์ รองลงมาคือ ด้านพฤติกรรมที่เน้นการเปลี่ยนแปลง และด้านพฤติกรรมที่เน้นงาน 2. ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า เพศ อายุ ตำแหน่ง อัตราเงินเดือน ระดับการศึกษา ประสบการณ์ทำงานและการปฏิบัติงานร่วมกับผู้บริหาร ที่แตกต่างมีความคิดเห็นต่อพฤติกรรมของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3. แนวทางสร้างพฤติกรรมของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่พึงประสงค์ คือ ควรส่งเสริมให้ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีกลยุทธ์ในการปฏิบัติงานให้ประสบความสำเร็จ การให้ขวัญและกำลังใจแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างทั่วถึง และสร้างค่านิยมในหน่วยงานให้ผู้ร่วมงานต้องคำนึงถึงประโยชน์ส่วนร่วมมากกว่าส่วนตน}, keywords = {การศึกษาพฤติกรรม, จังหวัดพิษณุโลก, ผู้บริหาร, ผู้บริหารในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น, พฤติกรรมผู้นำ, อบต., อำเภอวังทอง}, author = {วิษณุ, เพ็ชรแอน} } @mastersthesis {114, title = {การศึกษาความคิดเห็นของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับความพร้อมในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในจังหวัดพิษณุโลก}, volume = {ครุศาสตรมหาบัณฑิต}, year = {2550}, school = {Pibulsongkram Rajabhat University}, address = {พิษณุโลก}, abstract = {การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารองคืกรปกครองส่วนท้องถิ่นเกี่ยวกับความพร้อมในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในจังหวัดพิษณุโลก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 66 แห่งๆละ 3 คน ประกอบด้วย นายกองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นจำนวน 66 คน สมาชิกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 66 คน และปลัดองคืกรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 66 คน รวมทั้งสิ้น 198 คน ซึ่งเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามความพร้อมในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดพิษณุโลก ซึ่งมีค่า Reliabiliry เท่ากับ .95 ในการเก็บรวบรวมข้อมูลผู้วิจัย เก็บรวบรวมข้อมุลด้วยตนเอง ได้ข้อมูลกลับคืนมา จำนวน 183 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 92.42 และทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ค่าความถี่ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเปรียบเทียบโดยการหาค่าที และการวิเคราะห์ความปรวนแปรทางเดียว จากนั้นทดสอบรายคู่ด้วยวิธีการของเซฟเฟ่ ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดพิษณุโลก มีความคิดเห็นต่อความพร้อมในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยด้านงบประมาณมีค่าเฉลี่ยสูงสุดรองลงมา ได้แก่ ด้านการวางแผน และตำสุด ได้แก่ ด้านบุคลากร 2. ผลการเปรียบเทียบความพร้อมในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดพิษณุโลก จำแนกตามตัวแปรอิสระ 2 ตัวแปรดังนี้ 2.1 จำแนกตามประเภทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาพรวมไม่แตกต่างกันโดยผู้บริหารเทศบาลมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ส่วนผุ้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบล มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก โดยด้านการวางแผน และด้านบริหารจัดการศึกษามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.2 จำแนกตามประสบการณ์การบริหารงาน ภาพรวมและทุกด้านไม่แตกต่างกันโดยมีผู้บริหารที่มีประสบการณ์บริหารงานอย่างน้อยกว่า 5 ปี มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ผู้บริหารที่มีประสบการณ์การบริหารงาน 5-10 ปี มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก และผู้บริหารที่มีประสบการณ์บริหารมากกว่า 10 ปี มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากเช่นเดียวกัน}, keywords = {ความคิดเห็นของผู้บริหาร, ความพร้อมในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน, จังหวัดพิษณุโลก, ผู้บริหาร, องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น, อบต.การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน}, author = {วิลาวัลย์, ประทุมวงศ์} } @mastersthesis {249, title = { คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาที่เอื้อต่อการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ตามทัศนะครู อาจารย์ โรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสุโขทัย}, volume = {ครุศาสตรมหาบัณฑิต}, year = {2545}, school = {มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม}, address = {พิษณุโลก}, abstract = { การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาเกี่ยวกับคุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษา ที่เอื้อต่อการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ตามทัศนะของครู อาจารย์โรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสุโขทัย และเพื่อเปรียบเทียบคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษา ที่เอื้อต่อการจัดการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ตามทัศนะของครู อาจารย์ โรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสุโขทัย จำแนกตามเพศวุฒิทางการศึกษา และประสบ-การณ์ในปการปฏิบัติงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ครู อาจารย์โรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสุโขทัย จำนวน 219 คน โดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi {\textendash} Stage Random Sampling ) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง การวิเคราะห์ข้อมูลใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS for Windows สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐานคือ t- test ผลการวิจัย พบว่า 1. ครู อาจารย์โรงเรียนประถมศึกษามีทัศนะต่อคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกตามพระราชทานบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ทั้งในภาพรวมและรายได้อยู่ในระดับมาก 2. ครู อาจารย์โรงเรียนประถมศึกษาทั้งเพศชายและเพศหญิงมีทัศนะต่อคุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ทั้งในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 3. ครู อาจารย์โรงเรียนประถมศึกษาทั้งที่มีวุมิการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรีและตั้งแต่ปริญญาตรีขึ้นไปมีทัศนะต่อคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ทั้งในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 4. ครู อาจารย์โรงเรียนประถมศึกษาทั้งที่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานต่ำกว่า 12 ปี และตั้งแต่ 12 ปีขึ้นไป มีทัศนะต่อคุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ทั้งในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 5. ครูเพศชายและเพศหญิง มีทัศนะต่อคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาที่เอื้อต่อพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ทั้งในภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน 6. ครูที่มีวุฒิทางการศึกษา มีทัศนะต่อคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาที่เอื้อต่อพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ทั้งในภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน 7. ครูที่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานต่างกัน มีทัศนะต่อคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาที่เอื้อต่อพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ทั้งในภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน}, keywords = {ผู้บริหาร}, author = {ประดิษฐ์, กำเนิด} } @article {741, title = {ความสัมพันธ์ระหว่างกลวิธีการใช้อำนาจกับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหาร ตามการรับรู้ของบุคลากรประจำสถาบันราชภัฏพิบูลสงคราม}, year = {2542}, institution = {มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม}, address = {เมืองพิษณุโลก}, keywords = {การเปลี่ยนแปลง, การใช้อำนาจ, ความสัมพันธ์ระหว่างกลวิธี, ตามการรับรู้, บุคลากรประจำสถาบันราชภัฏพิบูลสงคราม, ผู้บริหาร, ภาวะผู้นำ}, author = {สธน, โรจนตระกูล} } @article {552, title = {ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการโรงแรมของผู้บริหารหน่วยงานในจังหวัดพิษณุโลก}, year = {2541}, month = {2541}, institution = {สถาบันราชภัฏพิบูลสงคราม}, type = {วิจัย}, address = {พิษณุโลก}, keywords = {การจัดการโรงแรม, การตัดสินใจเลือกใช้บริการ, ผู้บริหาร, โรงแรม}, author = {ไพศาล, ริ้วธงชัย} }