@mastersthesis {471, title = {การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา ในรายวิชาทัศนศิลป์ (ศ14101)}, volume = {ครุศาสตร์มหาบัณฑิต}, year = {2560}, school = {มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม}, type = {Thesis}, address = {พิษณุโลก}, keywords = {การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์, กิจกรรมการเรียนรู้, กิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา, ป.4, ประถมศึกษา, รายวิชาทัศนศิลป์, ศ14101, แบบซิปปา}, author = {ยงยุทธ, สินสวาท} } @mastersthesis {448, title = {การพัฒนาทักษะการเขียนโดยใช้แบบฝึกทักษะเขียนตามคำบอก สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านปากยาง อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก}, volume = {ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต}, year = {2560}, school = {มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม}, type = {Thesis}, address = {พิษณุโลก}, keywords = {การพัฒนาทักษะ, การเขียน, ทักษะการเขียน, ทักษะเขียนตามคำบอก, นักเรียน, บ้านปากยาง, ประถมศึกษา, ม.4, อำเภอวังทอง, เขียนตามคำบอก, แบบฝึกทักษะ}, author = {พิมพ์รัตน์, จักรบุตร} } @mastersthesis {964, title = {การวิเคราห์องค์ประกอบประสิทธิภาพการสอนภาษาอังกฤษของครูระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก}, volume = {ครุศาสตรมหาบัณฑิต}, year = {2557}, school = {มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม}, type = {วิทยานิพนธ์/Thesis}, address = {เมืองพิษณุโลก}, keywords = {การวิเคราะห์, การสอนภาษาอังกฤษ, ป.4-6, ประถมศึกษา, ประถมศึกษาปีที่ 4-6, ประสิทธิภาพ, พิษณุโลก, สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา, องค์ประกอบ}, url = {http://etheses.psru.ac.th/lib-irpsru/?q=th/node/1964}, author = {ภาสินี, ปัญญาประชุม} } @mastersthesis {26, title = {การศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กำแพงเพชร เขต 1}, volume = {ครุศาสตรมหาบัณฑิต}, year = {2557}, month = {2557-09-23}, school = {มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม}, type = {วิทยานิพนธ์/Thesis}, address = {พิษณุโลก}, abstract = {การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากำแพงเพชร เขต 1 และเพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความคิดสร้างสรรค์คณิตศาสตร์กับข้อมูลเชิงประจักษ์ กลุ่มตัวอย่างจำนวน 571 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน ตัวแปรที่ศึกษาประกอบด้วยตัวแปรแฝง 6 ตัว ได้แก่ 1.บรรยายในห้องเรียนคณิตศาสตร์ 2.พฤติกรรมการสอนคณิตศาสตร์ 3. การสนับสนุนการเรียนคณิตศาสตร์ของผู้ปกครอง 4.เจตคติวิชาคณิตศาสตร์ 5. การเข้าร่วมกิจกรรมคณิตศาสตร์ของนักเรียนและ 6.ความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยแบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ และแบบทดสอบถามปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรม SPSS ในการหาค่าสถิติพื้นฐานและใช้โปรแกรม LISREL 8.54 ในการตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้างของโมเดลปัจจัยเชิงสาเหตุ ผลการวิจัยพบว่า 1 ความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากำแพงเพชร เขต 1 มีค่าเฉลี่ยในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และพบว่าตัวแปรสังเกตได้ด้านความคิดคล่องแคล่วทางคณิตศาสตร์ ด้านความคิดยืดหยุ่นทางคณิตศาสตร์ และด้านความคิดริเริ่มทางคณิตศาสตร์ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง 2.โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ได้ค่าสถิติไคสแควร์ (x2 ) = 98.72 (p = 0.23) df = 89, GFI = .99, AGFI = .97, RMR = .03) โมเดลสามารถอธิบายความแปรปรวนของความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ได้ร้อยละ 66 โดยตัวแปรที่มีอิทธิพลทางตรงต่อความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ เจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ และการเข้าร่วมกิจกรรมทางคณิตศาสตร์ ตัวแปรที่มีอิทธิพลทางอ้อมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ บรรยากาศในห้องเรียนคณิตศาสตร์มีอิทธิพลอ้อมผ่านเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ ตัวแปรที่มีอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ พฤติกรรมการสอนคณิตศาสตร์ของครูและการสนับสนุนการเรียนคณิตศาสตร์ของผู้ปกครอง}, keywords = {กำแพงเพชร, ความคิดสร้างสรรถทางคณิตศาสตร์, นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กำแพงเพชร เขต 1, ประถมศึกษา, ปัจจัยเชิงสาเหตุ, อิทธิพลต่อความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์}, author = {ยุพิน, บุบผาวรรณา} } @mastersthesis {985, title = {การศึกษาสภาพการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1}, volume = {ครุศาสตรมหาบัณฑิต}, year = {2557}, school = {มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม}, type = {วิทยานิพนธ์/Thesis}, address = {พิษณุโลก}, keywords = {การศึกษา, ขยายโอกาส, นักเรียน, ประถมศึกษา, พิษณุโลก เขต 1, สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา, โรงเรียน}, url = {http://etheses.psru.ac.th/lib-irpsru/?q=th/node/985}, author = {ธันยพร, สินมา} } @mastersthesis {24, title = {ความตะหนักต่อผลกระทบทางสุขภาพ จากอนุภาคฝุ่นละอองในอากาศ ในนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาในจังหวัดพิษณุโลก}, volume = {วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต}, year = {2557}, month = {2557-09-25}, school = {มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม}, type = {วิทยานิพนธ์/Thesis}, address = {พิษณุโลก}, abstract = {การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความตระหนักต่อผลกระทบทางสุขภาพจากอนุภาคฝุ่นละอองในอากาศก่อน และหลังการอ่านหนังสือประกอบการเรียนของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนเขตเมือง ซึ่งได้แก่ โรงเรียนเทศบาล 3 (วัดท่ามะปราง) เทศบาลนครพิษณุโลก อำเภอเมืองพิษณุโลก จำนวน 64 คน และโรงเรียนนอกเขตเมือง คือโรงเรียนเทศบาลพิรามอุทิศ เทศบาลตำบลพรหมพิราม อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก จำนวน 70 คน โดยการศึกษาครั้งนี้ได้จัดทำหนังสืออ่านประกอบการเรียนเรื่อง {\textquotedblleft}ฝุ่นละออง...ภัยร้ายใกล้ตัวเรา{\textquotedblright} ซึ่งมีเนื้อหา 3 ส่วน คือ มลพิษทางอากาศ ฝุ่นละอองในอากาศ และความตระหนักต่อผลกระทบทางสุขภาพ (IOC=0.9) และเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ก่อนและหลังการอ่านสื่อ 1 วัน และ 7 วัน ตามลำดับ ผลการศึกษาพบว่า นักเรียนโรงเรียนเทศบาล 3 กลุ่มทดลองจำนวน 32 คน มีคะแนนความรู้เรื่องมลพิษทางอากาศ ฝุ่นละอองในอากาศ และความตระหนักต่อผลกระทบทางสุขภาพ เพิ่มสูงขึ้นหลังจากอ่านหนังสือ 1 วัน ร้อยละ 11.6 , 8.8 และ 1.4 ตามลำดับ แลหลังการอ่าน 7 วัน มีคะแนนสูงขึ้นร้อยละ 17.4, 9.4 และ 12.5 ตามลำดับ ซึ่งมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ กับกลุ่มควบคุมที่ไม่ได้อ่านหนังสือ ส่วนโรงเรียนนอกเขตเมือง โรงเรียนเทศบาลพิรามอุทิศ กลุ่มทดลองจำนวน 35 คน มีคะแนนความรู้เรื่องมลพิษทางอากาศ ฝุ่นละอองในอากาศ และมีความตระหนักต่อผลกระทบทางสุขภาพ เพิ่มร้อยละ 35.1, 15.7 และ 15.0 ตามลำดับ ซึ่งมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญกับกลุ่มควบคุม เมื่อเปรียบเทียบความตระหนักต่อผลกระทบทางสุขภาพของนักเรียนในโรงเรียนเขตเมืองและนอกเขตเมืองจากแบบทดสอบและแบบสอบถามพบว่านักเรียนในเขตนอกเมืองมีความตระหนักต่อผลกระทบทางสุขภาพมากกว่านักเรียนในเขตเมืองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95\%}, keywords = {ความตะหนักต่อผลกระทบทางสุขภาพ, จังหวัดพิษณุโลก, นักเรียนชั้นประถมศึกษา, ประถมศึกษา, ฝุ่นละออง, สุขภาพ, อนุภาคฝุ่นละอองในอากาศ}, author = {เจษฎากรณ์, ทองน้อย} } @mastersthesis {117, title = {ผลของการสอนแบบ SSCS ที่มีต่อความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาและเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4}, volume = {ครุศาสตรมหาบัณฑิต}, year = {2550}, school = {มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม}, address = {พิษณุโลก}, abstract = {การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการสอนแบบ SSCS กับเกณฑ์ร้อยละ 60 ของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา และศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการสอนแบบ SSCS โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านหนองหัวบัว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุโขทัยเขต 1 ปีการศึกษา 2549 จำนวน 25 คน เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่แผนการจัดการเรียนรู้การสอนแบบ SSCS แบบสอบวัดความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาการบวกและการลบแบบเติมคำตอบ และแบบวัดเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานด้วยการทดสอบค่าที่ (t {\textendash} test แบบ One Sample Test) ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนที่ได้รับการสอนแบบ SSCS มีความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 ของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และนักเรียนที่ได้รับการสอนแบบ SSCS มีเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์อยู่ในระดับดี}, keywords = {การสอนแบบ SSCS, การแก้โจทย์ปัญหา, ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหา, นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4, ป.4, ประถมศึกษา, วิชาคณิตศาสตร์, เจตคติ, เจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์, แบบ SSCS}, author = {อิศราวุฒ, ส้มซ่า} } @mastersthesis {943, title = {การศึกษาสภาพและปัญหาการปฏิบัติติงานตามหลักเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดกำแพงเพชร}, volume = {ครุศาสตรมหาบัณฑิต}, year = {2545}, school = {มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม}, type = {วิทยานิพนธ์/Thesis}, address = {พิษณุโลก}, keywords = {การปฏิบัติติงาน, การศึกษา, จังหวัดกำแพงเพชร, ประถมศึกษา, สภาพและปัญหาการปฏิบัติติงานตามหลักเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนประถมศึกษา, สังกัดสำนักงานการประถมศึกษา}, url = {http://etheses.psru.ac.th/lib-irpsru/?q=th/node/943}, author = {มนู, หมอกเมฆ} } @article {645, title = {มโนทัศน์และการปฏิบัติเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมของครูโรงเรียนประถมศึกษาในจังหวัดพิษณุโลก}, year = {2545}, month = {2545}, institution = {สถาบันราชภัฏพิบูลสงคราม}, type = {วิจัย}, address = {พิษณุโลก}, keywords = {ครู, ประถมศึกษา, สิ่งแวดล้อม}, author = {สุภา, อักษรดิษฐ์} } @book {1005, title = {หลักสูตรและแบบเรียนประถมศึกษา}, year = {2535}, pages = {184 หน้า}, publisher = {สถาบันราชภัฏพิบูลสงคราม. คณะวิชาครุศาสตร์. ภาควิชาหลักสูตรและการสอน }, organization = {สถาบันราชภัฏพิบูลสงคราม. คณะวิชาครุศาสตร์. ภาควิชาหลักสูตรและการสอน }, address = {จังหวัดพิษณุโลก}, keywords = {ประถมศึกษา, หลักสูตร, หลักสูตรและแบบเรียนประถมศึกษา, แบบเรียน}, url = {http://etheses.psru.ac.th/lib-irpsru/?q=th/node/1005}, author = {สนิท, ฉิมเล็ก} } @book {1002, title = {หลักสูตรและการจัดการประถมศึกษา}, year = {2532}, pages = {246 หน้า}, publisher = {วิทยาลัยครูพิบูลสงคราม. คณะวิชาครุศาสตร์. ภาควิชาหลักสูตรและการสอน}, organization = {วิทยาลัยครูพิบูลสงคราม. คณะวิชาครุศาสตร์. ภาควิชาหลักสูตรและการสอน}, address = {จังหวัดพิษณุโลก}, keywords = {การจัดการ, ประถมศึกษา, หลักสูตร, หลักสูตรและการจัดการประถมศึกษา}, url = {http://etheses.psru.ac.th/lib-irpsru/?q=th/node/1002}, author = {สนิท, ฉิมเล็ก} }