TY - THES T1 - แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรสายสนับสนุนในมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม Y1 - 2556 A1 - มาริน, จันทรวงค์ KW - การทำงานของบุคลากร KW - การพัฒนาคุณภาพชีวิต KW - มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม KW - สายสนับสนุน KW - แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิต PB - มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม CY - เมืองพิษณุโลก VL - ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต UR - http://etheses.psru.ac.th/lib-irpsru/?q=th/node/942 ER - TY - THES T1 - แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรสายสนับสนุนในมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม Y1 - 2556 A1 - มาริน, จันทรวงศ์ KW - การทำงาน KW - คุณภาพชีวิต KW - บุคลากรสายสนับสนุน KW - มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม KW - แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิต KW - แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงาน AB - การวิจัยครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรสายสนับสนุนมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม และเพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงานตามความคิดเห็นของบุคลากรสายสนับสนุน มหาวิทยาลัย ประชากรที่ศึกษา คือ บุคลากรสายสนับสนุนที่ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ปีการศึกษา 2555 จำนวน 421 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 201 คน โดยจำแนกตามประเภทบุคลากรสายสนับสนุน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือแบบสอบถามการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามปลายปิดใช้ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ( ) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพจากคำถามปลายเปิดใช้ในการวิเคราะห์เนื้อหาแบบลงข้อสรุปและสรรพนามความ ผลการวิจัยโดยสรุป พบว่า 1. คุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามในภาพรวมทุกด้านอยู่ในระดับดีมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดซึ่งอยู่ในระดับดีเช่นกัน ได้แก่ “ด้านความสัมพันธ์ที่ดีในองค์การ” รองลงมาคือ “ด้านความภาคภูมิใจในองค์การ” ส่วนด้านที่คุณภาพชีวิตการทำงานนี้ระดับพอใช้มี 3 ด้าน ซึ่งมีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุดได้แก่ “ด้านค่าตอบแทนที่เหมาะสมและเป็นธรรม” รองลงมาคือความก้าวหน้าและความมั่นคงในงาน” และ ด้านความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงาน “ ตามลำดับ 2. บุคลากรให้ข้อเสนอแนะเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงาน คือ ด้านค่าตอบแทนที่เหมาะสมและเป็นธรรม ได้แก่ ควรเพิ่มค่าแรงงานและปรับฐานเงินเดือนให้เท่าทันกับหน่วยงานอื่น ควรเพิ่มค่าครองชีพและเงินพิเศษในตำแหน่งเฉพาะทางให้เหมาะสมเพียงพอ ยุติธรรมและกระจายให้ทั่วถึง ด้านความก้าวหน้าและความมั่นคงในงาน ควรมีวิธีการที่หลากหลายในการปรับปรุงแผนงานให้เหมาะสม และด้านความสมดุลระหว่างชีวิตการทำงาน สรุปได้ส่า คือควรมีการกระจายให้เหมาะสมกับบุคคล และจัดให้มีโอกาสพักจริงในเวลาทำงาน PB - มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม CY - พิษณุโลก VL - ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต ER - TY - THES T1 - แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของนายทหารชั้นประทวน กองพันทหารม้าที่ 9 ค่ายสมเด็จพระเอกาทศรถ จังหวัดพิษณุโลก Y1 - 2556 A1 - คเชนทร์ ,ช่างน้อย KW - กองพันทหารม้าที่ 9 KW - ค่าย บชร. KW - ค่ายสมเด็จพระเอกาทศรถ KW - จังหวัดพิษณุโลก KW - นายทหารชั้นประทวน KW - แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิต AB - การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบผสมผสาน มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตของนายทหารชั้นประทวนในกองทัพทหารม้าที่ 9 ค่ายสมเด็จพระเอกาทศรถ จังหวัดพิษณุโลก และเพื่อนำเสนอแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของนายทหารชั้นประทวนในกองทัพทหารม้าที่ 9 ค่ายสมเด็จพระเอกาทศรถ จังหวัดพิษณุโลก โดยกลุ่มตัวอย่างในการใช้แบบสอบถามคือ นายทหารชั้นประทวนกองพันทหารม้าที่ 9 จำนวน 122 คน และกลุ่มที่ใช้ในการสัมภาษณ์ ได้แก่ นายทหารชั้นสัญญาบัตรของหน่วยทหารม้าที่ 9 ค่ายสมเด็จพระเอกาทศรถ คือ หัวหน้าฝ่ายอำนวยการ และผู้บังคับบัญกองร้อย จำนวน 8 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้รูปแบบการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่าความคิดเห็นต่อคุณภาพชีวิตของนายทหารชั้นประทวน กองพันทหารม้าที่ 9 ค่ายสมเด็จพระเอกาทศรถ จังหวัดพิษณุโลก อยู่ในระดับสูง ได้แก่ 1. ด้านสิ่งแวดล้อมที่ถูกลักษณะและปลอดภัย 2. ด้านการพัฒนาความรู้ความสามารถของบุคลากร 3. ด้านความก้าวหน้าและมั่นคงในงาน 4. ด้านการทำงานร่วมกัน 5.ด้านธรรมนูญในองค์การ 6. ด้านความเกี่ยวข้องและเป็นประโยชน์ต่อสังคม ส่วนด้านค่าตอบแทนที่เป็นธรรมและเพียงพอ และด้านความสมดุลระหว่าชีวิตการทำงาน มีความคิดเห็นในระดับปานกลาง ดังนั้น จึงนำสู่การหาแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิต ดังนี้ 1. การบริหารจัดการค่าตอบแทน ควรมีการนำเกณฑ์การประเมินผลงานที่เป็นธรรมและชัดเจนเพื่อนำเป็นเกณฑ์ในการจ่ายเงินค่าตอบแทน เบี้ยเลี้ยงต่างๆ รวมถึงการปรับเลื่อนตำแหน่ง และ2. ควรมีกองทุนให้กู้ยืมฉุกเฉินสำหรับนายทหารในระดับต่างๆ โดยคิดดอกเบี้ยในอัตราต่ำ 3.ส่วนความสมดุลระหว่างชีวิตและการดำเนินงาน ควรมีการดำเนินการจัดเวลาทำงานและเวลาให้สมดุลสำหรับบุคลากรทุกระดับ รวมถึงส่งเสริมการทำกิจกรรมร่ววมกันของครอบครัวบุคลากร PB - มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม CY - พิษณุโลก VL - ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต ER -