TY - THES T1 - กระบวนการปรับพฤติกรรมก้าวร้าวของเยาวชนในตำบลบ้านกร่าง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก Y1 - 2552 A1 - ภาคิน, หนุฟุ่น KW - การปรับพฤติกรรม KW - ก้าวร้าว KW - จังหวัดพิษณุโลก KW - ตำบลบ้านกร่าง KW - พฤติกรรมก้าวร้าว KW - อำเภอเมือง KW - เยาวชน KW - เยาวชนในตำบลบ้านกร่าง AB - การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาสาเหตุที่ทำให้เกิดพฤติกรรมก้าวร้าวของเยาวชน 2) กำหนดกระบวนการปรับพฤติกรรมก้าวร้าวของเยาวชน และ 3 ) ประเมินความเหมาะสมด้าน กระบวนการปรับพฤติกรรมก้าวร้าวของเยาวชนในตำบลบ้านกร่าง อำเภอเมืองจังหวัดพิษณุโลก แหล่งข้อมูล ได้แก่ กลุ่มการปกครองท้องถิ่น กลุ่มสถานศึกษา กลุ่มผู้ปกครอง และกลุ่มเยาวชน จำนวน 68 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ประเด็นการสนทนากลุ่ม แบบพฤติกรรมก้าวร้าวซึ่งเป็น แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีการสนทนากลุ่ม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) การหาค่าเฉลี่ย ( ) และหาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการศึกษาพบว่า 1. สาเหตุที่ทำให้เกิดพฤติกรรมก้าวร้าวของเยาวชน เกิดจาก 1) อิทธิพลของการอบรมเลี้ยงดูแบบปล่อยปละละเลย 2) อิทธิพลของเพื่อนประเภทเลียนแบบเพื่อน 3)อิทธิพลของสื่อจากโทรศัพท์มือถือ ตามลำดับ 2. กระบวนการปรับพฤติกรรมก้าวร้าวของเยาวชน มีขั้นตอนประกอบด้วย 1) วางแผน/จัดทำโครงการ 2) เสนอขออนุมัติโครงการ / งบประมาณ 3) ดำเนินการตามโครงการ 4) ติดตามประเมินผล 5) ปรับปรุง 3. การประเมินความเหมาะสมด้าน กระบวนการปรับพฤติกรรมก้าวร้าวของเยาวชน พบว่า อยู่ในระดับเหมาะสมมาก ค่าเฉลี่ย ( = 4.20. S.D. = 0.12) ER - TY - THES T1 - การพัฒนาเยาวชนด้วยดนตรีไทย กรณีศึกษา : เยาวชนในเขตพื้นที่ ตำบลแม่สอด อำเภอแม่สอด จังหวัดตากว T2 - มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ Y1 - 2549 A1 - สุชาติ, เอี่ยมยัง KW - การพัฒนาเยาวชน KW - การพัฒนาเยาวชนด้วยดนตรีไทย KW - จังหวัดตาก KW - ดนตรีไทย KW - ตำบลแม่สอด KW - อำเภอแม่สอด KW - เยาวชน AB - การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาชุดกิจกรรมดนตรีไทยสำหรับเยาวชนตามเกณฑ์ประสิทธิภาพ 75 /75 และเพื่อศึกษาผลการใช้ชุดกิจกรรมดนตรีไทยพัฒนาเยาวชนเกี่ยวกับความรู้ด้านดนตรีไทยก่อนและหลังการพัฒนาความสามารถด้านดนตรีไทยและสนทรียภาพด้านดนตรีไทยกลุ่มตัวอย่างได้แก่ เยาวชนที่มีความสมัครใจเข้ารับการพัฒนาอายุระหว่าง 10 - 16 ปี ไม่จำกัดเพศการวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและการพรรณา ผลการวิจัย พบว่า ชุดกิจกรรมดนตรีไทยมีประสิทธิภาพ โดยรวมเท่ากับ 78.45 / 80.83 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ ประสิทธิภาพ 75 /75 ผลการใช้ชุดกิจกรรมดนตรีไทยพัฒนาเยาวชน ทำให้เยาวชนมีความรู้ด้านดนตรีไทยหลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนา คิดเป็นร้อยละ 80.83 ความสามารถด้านดนตรีไทยของเยาวชนโดยรวมอยู่ในระดับดี และสุนทรียภาพด้านดนตรีไทยของเยาวชนโดยรวมมีมากขึ้น JF - มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ PB - มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม CY - จังหวัดพิษณุโลก ER - TY - RPRT T1 - ความรู้และทัศนคติของเยาวชนที่มีต่อพระพุทธศาสนาในยุคโลกาภิวัฒน์ Y1 - 2545 A1 - วราภรณ์, ซื่อประดิษฐ์กุล KW - ความรู้และทัศนคติ KW - พระพุทธศาสนา KW - ยุคโลกาภิวัฒน์ KW - เยาวชน PB - มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม CY - เมืองพิษณุโลก ER - TY - RPRT T1 - ความรู้และทัศนคติของเยาวชนที่มีต่อพระพุทธศาสนาในยุคโลกาภิวัฒน์ Y1 - 2545 A1 - วราภรณ์, ซื่อประดิษฐ์กุล KW - ทัศนคติ KW - ทัศนคติของเยาวชน KW - พระพุทธศาสนา KW - เยาวชน PB - สถาบันราชภัฏพิบูลสงคราม CY - พิษณุโลก ER - TY - RPRT T1 - อิทธิพลของเมืองที่มีต่อเยาวชนชนบทในจังหวัดพิษณุโลก Y1 - 2540 A1 - ปรีชา, สุกใส KW - อิทธิพล KW - เยาวชน PB - สถาบันราชภัฏพิบูลสงคราม CY - พิษณุโลก ER -