%0 Thesis %D 2546 %T กระบวนการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาที่ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพิษณุโลก เขต 1 %A บุญลือ, มูลสวัสดิ์ %K ประกันคุณภาพการศึกษา %X การวิจัยครั้งนี้มีวัตุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาที่ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศ฿กษาพิษณุโลก เขต 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียน ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียน และครูผู้สอนในโรงเรียนประถมศึกษาจำนวน 6 แห่ง ซึ่งได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ การศ฿กษาเอกสารและการสังเกตพฤติกรรมการเรียนและการสอนแนะนำเสนอข้อมูลในลักษณะของการบรรยายตามขอบเขตของการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า 1. โรงเรียนจัดระบบการบริหารภายในสถานศึกษา มีโครงสร้างการบริหารงานชัดเจน กำหนดบทบาทหน้าที่รับผิดชอบและกำกับ นิเทศ ติดตามประเมินผล จัดระบบสารสนเทศและมีข้อมูลอย่างเพียงพอในการดำเนินงาน 2. โรงเรียนกำหนดมาตรฐานการศึกษา มีขั้นตอนที่ชัดเจนสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ครอบคลุมสาระการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนสถานศึกษาและท้องถิ่น โดยชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม 3. โรงเรียนจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาระดับสถานศึกษา สภาพความต้องการของโรงเรียนและท้องถิ่นที่มุ่งเน้นคุณภาพนักเรียนเกิดจากการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4. โรงเรียนดำเนินโครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏิบัติการประจำปี ทุกกิจกรรมมีการควบคุมกำกับ ติดตามและนิเทศให้การดำเนินงานบรรลุตามแผนปฏิบัติการประจำปี 5. โรงเรียนวางแผนการตรวจสอบทบทวนคุณภาพการศึกษาโดยกำหนดผู้รับผิดชอบและให้บุคลากรกรทุกฝ่ายมีส่วนร่วมและใช้วิธีที่หลากหลายครอบคลุมมาตรฐานการศึกษาระดับสถานศึกษา การบริหารจัดการ การจัดการการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ และดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง นำผลการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศ฿กาษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 6. โรงเรียนประเมินคุณภาพการศึกษาครอบคลุมทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้คุณลักษณะอันพึงประสงค์ การอ่าน การเขียน การคิดวิเคราะห์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้วยเครื่องมือที่หลากหลายและดำเนินตามมาตรฐานการศึกษาระดับสถานศึกษา 7. โรงเรียนจัดทำรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปีเสนอต่หน่วยงานต้นสังกัดหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน ครอบคลุมมาตรฐานการศึกษา การบริหารจัดการการจัดการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ จุดเด่น / ด้อย แนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยมีผู้รับผิดชอบชัดเจนและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม 8. โรงเรียนปรับปรุง พัฒนา และรักษาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้มี ประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง ปัญหาการดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาได้แก่ ปัญหาด้านบุคลากรซึ่งขาดทักษะและเทคนิคในการวัดผลและประเมินผล ขาดทักษะด้านการวางแผน ครูส่วนใหญ่ยังไม่เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการสอนยังคงใช้วิธีการสอนแบบเดิม วัสดุอุปกรณ์การเรียนการสอนมีน้อยและเก่าไม่เพียงพอกับความต้องการ การดำเนินงานตามแผนไม่เป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด %I มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ %C พิษณุโลก %V ครุศาสตรมหาบัณฑิต %G eng %0 Thesis %B มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม %D 2546 %T กระบวนการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาที่ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพิษณุโลก เขต 1 %A บุญลือ, มูลสวัสดิ์ %K กระบวนการพัฒนาระบบประกันคุณภาพ %K การประเมินคุณภาพ %K ประกันคุณภาพการศึกษา %X การวิจัยครั้งนี้มีวัตุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาที่ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศ฿กษาพิษณุโลก เขต 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียน ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียน และครูผู้สอนในโรงเรียนประถมศึกษาจำนวน 6 แห่ง ซึ่งได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ การศ฿กษาเอกสารและการสังเกตพฤติกรรมการเรียนและการสอนแนะนำเสนอข้อมูลในลักษณะของการบรรยายตามขอบเขตของการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า 1. โรงเรียนจัดระบบการบริหารภายในสถานศึกษา มีโครงสร้างการบริหารงานชัดเจน กำหนดบทบาทหน้าที่รับผิดชอบและกำกับ นิเทศ ติดตามประเมินผล จัดระบบสารสนเทศและมีข้อมูลอย่างเพียงพอในการดำเนินงาน 2. โรงเรียนกำหนดมาตรฐานการศึกษา มีขั้นตอนที่ชัดเจนสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ครอบคลุมสาระการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนสถานศึกษาและท้องถิ่น โดยชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม 3. โรงเรียนจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาระดับสถานศึกษา สภาพความต้องการของโรงเรียนและท้องถิ่นที่มุ่งเน้นคุณภาพนักเรียนเกิดจากการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4. โรงเรียนดำเนินโครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏิบัติการประจำปี ทุกกิจกรรมมีการควบคุมกำกับ ติดตามและนิเทศให้การดำเนินงานบรรลุตามแผนปฏิบัติการประจำปี 5. โรงเรียนวางแผนการตรวจสอบทบทวนคุณภาพการศึกษาโดยกำหนดผู้รับผิดชอบและให้บุคลากรกรทุกฝ่ายมีส่วนร่วมและใช้วิธีที่หลากหลายครอบคลุมมาตรฐานการศึกษาระดับสถานศึกษา การบริหารจัดการ การจัดการการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ และดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง นำผลการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศ฿กาษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 6. โรงเรียนประเมินคุณภาพการศึกษาครอบคลุมทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้คุณลักษณะอันพึงประสงค์ การอ่าน การเขียน การคิดวิเคราะห์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้วยเครื่องมือที่หลากหลายและดำเนินตามมาตรฐานการศึกษาระดับสถานศึกษา 7. โรงเรียนจัดทำรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปีเสนอต่หน่วยงานต้นสังกัดหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน ครอบคลุมมาตรฐานการศึกษา การบริหารจัดการการจัดการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ จุดเด่น / ด้อย แนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยมีผู้รับผิดชอบชัดเจนและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม 8. โรงเรียนปรับปรุง พัฒนา และรักษาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้มี ประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง ปัญหาการดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาได้แก่ ปัญหาด้านบุคลากรซึ่งขาดทักษะและเทคนิคในการวัดผลและประเมินผล ขาดทักษะด้านการวางแผน ครูส่วนใหญ่ยังไม่เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการสอนยังคงใช้วิธีการสอนแบบเดิม วัสดุอุปกรณ์การเรียนการสอนมีน้อยและเก่าไม่เพียงพอกับความต้องการ การดำเนินงานตามแผนไม่เป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด %B มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม %I มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม %C พิษณุโลก %V ครุศาสตรมหาบัณฑิต %G eng %9 วิทยานิพนธ์ %0 Thesis %B มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ. %D 2546 %T กระบวนการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาที่ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพิษณุโลก เขต 1 %A บุญลือ, มูลสวัสดิ์ %K ประกันคุณภาพการศึกษา %X การวิจัยครั้งนี้มีวัตุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาที่ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศ฿กษาพิษณุโลก เขต 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียน ผู้ช่วยผู้บริหารโรงเรียน และครูผู้สอนในโรงเรียนประถมศึกษาจำนวน 6 แห่ง ซึ่งได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ การศ฿กษาเอกสารและการสังเกตพฤติกรรมการเรียนและการสอนแนะนำเสนอข้อมูลในลักษณะของการบรรยายตามขอบเขตของการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า 1. โรงเรียนจัดระบบการบริหารภายในสถานศึกษา มีโครงสร้างการบริหารงานชัดเจน กำหนดบทบาทหน้าที่รับผิดชอบและกำกับ นิเทศ ติดตามประเมินผล จัดระบบสารสนเทศและมีข้อมูลอย่างเพียงพอในการดำเนินงาน 2. โรงเรียนกำหนดมาตรฐานการศึกษา มีขั้นตอนที่ชัดเจนสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ครอบคลุมสาระการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนสถานศึกษาและท้องถิ่น โดยชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม 3. โรงเรียนจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาระดับสถานศึกษา สภาพความต้องการของโรงเรียนและท้องถิ่นที่มุ่งเน้นคุณภาพนักเรียนเกิดจากการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4. โรงเรียนดำเนินโครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏิบัติการประจำปี ทุกกิจกรรมมีการควบคุมกำกับ ติดตามและนิเทศให้การดำเนินงานบรรลุตามแผนปฏิบัติการประจำปี 5. โรงเรียนวางแผนการตรวจสอบทบทวนคุณภาพการศึกษาโดยกำหนดผู้รับผิดชอบและให้บุคลากรกรทุกฝ่ายมีส่วนร่วมและใช้วิธีที่หลากหลายครอบคลุมมาตรฐานการศึกษาระดับสถานศึกษา การบริหารจัดการ การจัดการการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ และดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง นำผลการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศ฿กาษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 6. โรงเรียนประเมินคุณภาพการศึกษาครอบคลุมทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้คุณลักษณะอันพึงประสงค์ การอ่าน การเขียน การคิดวิเคราะห์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้วยเครื่องมือที่หลากหลายและดำเนินตามมาตรฐานการศึกษาระดับสถานศึกษา 7. โรงเรียนจัดทำรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปีเสนอต่หน่วยงานต้นสังกัดหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน ครอบคลุมมาตรฐานการศึกษา การบริหารจัดการการจัดการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ จุดเด่น / ด้อย แนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยมีผู้รับผิดชอบชัดเจนและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม 8. โรงเรียนปรับปรุง พัฒนา และรักษาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้มี ประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง ปัญหาการดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาได้แก่ ปัญหาด้านบุคลากรซึ่งขาดทักษะและเทคนิคในการวัดผลและประเมินผล ขาดทักษะด้านการวางแผน ครูส่วนใหญ่ยังไม่เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการสอนยังคงใช้วิธีการสอนแบบเดิม วัสดุอุปกรณ์การเรียนการสอนมีน้อยและเก่าไม่เพียงพอกับความต้องการ การดำเนินงานตามแผนไม่เป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด %B มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ. %I มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. %C พิษณุโลก. %V ครุศาสตรมหาบัณฑิต %8 2546-10-03 %G eng %9 วิทยานิพนธ์/Thesis