การพัฒนายุทธศาสตร์เสริมสร้างศักยภาพพนักงานบริการที่มีต่อความพึงพอใจของลูกค้า กรณีศึกษา : ธนาคารกรุงศีอยุธยา จำกัด (มหาชน) สาขาย่อยถนนเอกาทศรฐ พิษณุโลก

ชื่อการพัฒนายุทธศาสตร์เสริมสร้างศักยภาพพนักงานบริการที่มีต่อความพึงพอใจของลูกค้า กรณีศึกษา : ธนาคารกรุงศีอยุธยา จำกัด (มหาชน) สาขาย่อยถนนเอกาทศรฐ พิษณุโลก
Publication TypeThesis
Year of Publication2552
Authorsอุมาพร, ปานรัตน์
Degreeครุศาสตร์มหาบันฑิต
Universityมหาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
Cityพิษณุโลก
Abstract

การศึกษาครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาบทบาทผู้ดูแลในการดูผู้สูงอายุ ในเขตเทศบาลนครพิษณุโลก โดยแบ่งขั้นตอน 2 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาข้อมูลส่วนบุคคล ปัจจัยด้านครอบครัว ปัจจัยด้านสังคมของผู้ดูแลในการดูแลผู้สูงอายุ และบทบาทของผู้ดูแลผู้สูงอายุในเขตเทศบาลนครพิษณุโลก ประชากรที่ใช้เลือกแบบเจาะจง โดยเลือกชุมชนที่มีความพร้อมในการดำเนินงานวิจับ 19 ชุมชน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ดูแลผู้สูงอายุในเขตเทศบาลนครพิษณุโลก จำนวน 263 คน โดยใช้การสุมแบบตัวอย่างแบบมีระบบ (Systematic Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมการวิจัยในครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐาน กำหนดยุทธศาสตร์ และศึกษาผลการใช้ยุทธศาสตร์เสริมสร้างศักยภาพพนักงานบริการที่มีต่อความพึงพอใจของลูกค้า ด้วยวิธีวิจัยเชิงพัฒนา(Developmet Research) ผลการวิจัยพบว่า 1. ธนาคารมีวิสัยทัศน์ “ปึกแผ่นเป็นแก่นสาร บริการเป็นกันเอง” พันธกิจ มุ่งมั่นดำเนินธุรกิจให้มีมูลค่าเพิ่มอย่างต่อเนื่องด้วยความรอบคอบระมัดระวัง เพื่อดำรงสถานะทางการเงินให้มีความั่นคงในระยะยาว พัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการเงินและบริการที่มีความทันสมัย ตอบสนองความต้องการและความพึงพอใจแก่ลูกค้า เพิ่มศักยภาพทรัพยากรบุคคลให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในการทำงาน และสอดคล้องกับสถานการณ์ 2. ความคิดเห็นของลูกค้าต่อการให้บริการของพนักงานธนาคาร ก่อนการเสริมสร้างศักยภาพด้านบุคลิกภาพ ด้านการให้บริการ และด้านการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า พบว่าทุกด้านมีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง 3. พัฒนายุทธศาสตร์จัดโครงการเพิ่มศักยภาพพนักงานธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด(มหาชน) เรื่อง การให้บริการ ตามกระบวนการปรับปรุงคุณภาพของ 6 ซิกม่า ผลการใช้ยุทธศาสตร์เสริมสร้างศักยภาพพนักงานบริการด้านศักยภาพของพนักงานหลังการเสริมสร้างศักยภาพ โดยภาพรวมผู้เข้าร่วมการประชุมสัมมนามีความคิดเห็นในระดับมาก 4. ความคิดเห็นของลูกค้าต่อการให้บริการของพนักงานธนาคาร หลังการเสริมสร้างศักยภาพด้านบุคลิกภาพ ด้านการให้บริการ และด้านการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า พบว่าทุกด้านมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก 5. ผลการเปรียบเทียบความพึงพอใจในการใช้บริการของลูกค้าที่มีต่อการให้บริการของพนักงานธนาคาร ด้านบุคลิกภาพ ด้านการให้บริการ และด้านการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า พบว่าก่อนการให้บริการและหลังการให้บริการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

Citation Key280
ไฟล์แนบ: 
AttachmentSize
PDF icon บทคัดย่อ137.37 KB
PDF icon ภาคผนวก346.68 KB
PDF icon บรรณานุกรม161.9 KB
PDF icon บทที่10 ไบต์
PDF icon บทที่20 ไบต์
PDF icon บทที่3236.54 KB
PDF icon บทที่40 ไบต์
PDF icon บทที่50 ไบต์
PDF icon สารบัญ157.58 KB
PDF icon หน้าปก0 ไบต์